จุดประสงค์ของบล็อกนี้

บล็อกเกอร์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบการเรียนการสอนวิชาอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และเพื่อให้ผู้ที่สนใจในเรื่องการเมืองไทยเข้ามาศึกษาเพิ่มเติมได้

วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2554

ระบบการเมืองของประเทศไทย

 
ระบบการเมืองการปกครอง
เป็นแบบแผนความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ ซึ่งก่อให้เกิดข้อตกลงใจที่มีอำนาจบังคับในสังคม

     ทุกระบบจะปรากฎลักษณะสำคัญเบื้องต้นร่วมกันดังนี้
     
 การแบ่งระบอบการเมืองโดยพิจารณาจากอำนาจอธิปไตย

     1. การปกครองโดยคนคนเดียว (Government of One) คือ บุคคลผู้เดียวเป็นผู้ใช้อำนาจสูงสุด  มี 2 แบบ คือ

         1.1 สมบูรณาญาสิทธิราช (Absolute Monarchy) สืบทอดตำแหน่งโดยการสืบสันตติวงศ์

         1.2 เผด็จการ (Dictatorship) ผู้ปกครองเรียกว่า ผู้เผด็จการ มีอำนาจเด็ดขาดเช่นเดียวกับกษัตริย์ อาจจะได้อำนาจทางการเมืองมาโดย การปฏิวัติยึดอำนาจ หรือ ได้รับเลือกตั้งจากประชาชน

     2. การปกครองโดยคนส่วนน้อย ( Government of Many) หรือการปกครองแบบประชาธิปไตย ประชาชนเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตย โดยการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรไปบริหารประเทศ หากไม่พอใจก็อาจเรียกอำนาจกลับคืนมาได้


    1.1 หลักการสำคัญ เป็นกฎเกณฑ์ในการจัดตั้งองค์การหรือในการดำเนินการตาม กระบวนการเพื่อกำหนดลักษณะ ให้เป็นไปในแนวหนึ่ง
         
    1.2 อุดมการณ์ หมายถึง ความเชื่อมั่นศรัทธาในคุณค่าอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง
          
    1.3 รูปแบบแห่งโครงสร้าง หมายถึง การกำหนดสถานภาพเพื่อให้สอดคล้องกับหลักการ      อุดมการณ์

        

    ไม่มีความคิดเห็น:

    แสดงความคิดเห็น